โครงสร้างภาษีพื้นฐานที่ผู้ประกอบการต้องมี

โครงสร้างภาษีพื้นฐานที่ผู้ประกอบการต้องมี

รหัสคอร์ส :

 A0015

เนื้อหา : 1 ตอน ( 2 ชม. 52 น. )

ผู้สอน

อ.สงคราม ภูผาทอง

ราคา

ซื้อทันที หยิบใส่ตระกร้า

รายละเอียดคอร์ส

โครงสร้างภาษีพื้นฐาน ที่ผู้ประกอบการต้องมี

พรุ่งนี้ต้องเป็นผู้ประกอบการ ต้องรู้อะไรบ้าง

เริ่มจากความรู้ ระดับ 0 ถึงขั้นระดับการตัดสินใจ

อย่าพึ่งจดจัดตั้งบริษัท ถ้าไม่เข้าใจเรื่องดังต่อไปนี้

เติบโตในรูปบุคคล หรือว่าจะเป็นนิติบุคคล ไม่ง่ายนักสำหรับจุดเริ่มต้น เพราะข้อมูลสืบค้นมีอย่างมากมาย

ทำไมต้องจดจัดตั้งบริษัท ถ้าหาคำตอบต่อไปนี้ไม่ได้ เนื้อหาในคอร์สนี้เหมาะกับท่าน

  • รายได้ 1.8 ล้าน ไม่ใช่ตัวตัดสินในความเป็นนิติบุคคล
  • ทำไมรายได้ 30 ล้านยังอยู่ในรูปแบบบุคคลดีกว่า
  • ปีนี้รายได้ 3 ล้าน ตามหลักควรเป็นนิติบุคคลตั้งนานแล้ว
  • แล้วอะไรละ คือหลักตัดสิน ตีแผ่กันแต่ละประเด็น แต่ละหัวข้อ

ความข้าใจโครงสร้างของธุรกิจ ว่าเราควรทำในรูปใหน อันใหนสิทธิประโยชน์มากกว่ากันมาเข้าใจหลักเงินได้ก่อน

  • เงินได้ประเภทที่ 1 เงินเดือน ค่าจ้างแรงงาน   ในระบบประกันสังคม เมื่อต้องจ่ายแม้งานไม่เสร็จ ก็ต้องจ่ายค่าจ้าง
  • เงินได้ประเภทที่ 2 เงินได้จากการรับทำงานให้ ค่านายหน้า จะจ่ายเมื่อใด ยึดความสำเร็จของงาน ไม่เสร็จ ไม่จ่าย
  • เงินได้ประเภทที่ 3 ค่าแห่งลิขสิทธิ์
  • เงินได้ประเภทที่ 4 ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร เลือกให้เป็น final tax หรือไม่
  • เงินได้ประเภทที่ 5 ที่ได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน ส่วนที่มี VAT และไม่มี VAT ควรวางแผนแต่ละประเภทยังไง
  • เงินได้ประเภทที่ 6 ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เมื่อต้องมีรายได้หลายทาง
  • เงินได้ประเภทที่ 7 ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมา รวมของรวมแรง ขนาดใหนถึงต้องถือว่าเป็นรับเหมา
  • เงินได้ประเภทที่ 8 ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือเงินได้จากการอื่น ที่ไม่ได้ระบุไว้ในเงินได้ประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7
  • นอกเหนือจาก 1-8 ส่วนใหนควรใช้ค่าใช้จ่ายตามจริง ตังใหนใช้อัตราเหมา หรือกรณีมีรายได้หลายๆ ประเภทขยายฐานทางภาษียังไงที่เป็นการหลบหรือหลีกเลี่ยง

การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ที่ต้องไปจบถึง ภาษีเงินได้บุคคลสิ้นปี

ประเภทธุรกิจที่ไม่ควรอยู่ในรูปแบบนิติบุคคล สิทธิประโยชน์ทางภาษีและสินเชื่อ

ประเภทธุรกิจที่บุคคลธรรดาได้เปรียบมากกว่า

เมื่อมีหลายธุรกิจควรรวมหรือแยกไว้ในกิจการเดียวกัน

มีเงินเดือนอยู่แล้ว ประเภทธุรกิจต่อไปนี้ควรอยู่ในรูปแบบบุคคล หรือนิติบุคคล

เมื่อตัดสินใจได้แล้วกรณีที่ต้องจดนิติบุคคล

  • ความแตกต่างระหว่าง ห้างหุ้นส่วนจำกัด กับริษัทจำกัด เลือกอย่างใหนดี
  • เรื่องของทุนจดทะเบียน และการชำระค่าหุ้น
  • ผู้ถือหุ้น โครงสร้างผู้ถือหุ้น
  • อำนาจกรรมการ
  • หนังสือบริคณห์สนธิ
  • ทุนจดทะเบียนที่ต้องมีสำหรับแต่ละประเภทธุรกิจ
  • เงินทุนที่ต้องชำระ หรือปรากกฎใน บอจ.5

เมื่อมีความเป็นนิติบุคคลแล้ว

  • ตำแหน่งและหน้าที่ของกรรมการ
  • เมื่อกิจการไม่มีพนักงาน
  • การกำหนดเงินเดือนของกรรมการ
  • การเข้าระบบประกันสังคม
  • ภาษีที่ต้องวางแผนตั้งแต่เริ่มแรก

การวางโครงสร้างทางภาษีของแต่ละประเภทธุรกิจ

  • ธุรกิจบริการ ภาษีที่เกี่ยวข้อง จดอะไรที่ใหนเมื่อไหร่
  • ธุรกิจซื้อมาขายไป ภาษีที่เกี่ยวข้อง จดอะไรที่ใหนเมื่อไหร่
  • ธุรกิจอสังหาที่เป็นธุรกิจเฉพาะ

ควรแปลงสภาพจาก หจก เป็น บจก. หรือไม่

ประเด็นด้านภาษีหัก  ณ ที่จ่าย

เอกสารทางภาษีที่ต้องยื่นแต่ละเดือน

การจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ควรมีพนักงานประจำ หรือควรจ้างเป็นสำนักงานบัญชี

ภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปีเมื่ออยู่ในรูปแบบนิติบุคคล

การเป็นผู้ประกอบการในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม

ผู้ประกอบการในระบบภาษีธุรกิจเฉพาะ 

ปัญหาเรื่องราวคนที่อยากเข้าถึงแหล่งสินเชื่อสถาบันการเงิน บุคคล ทะเบียนการค้า หรือ นิติบุคคล

                     

คอร์ส โครงสร้างภาษีพื้นฐานต้องมี "เมื่อพรุ่งนี้ต้องเป็นผู้ประกอบการ" เนื้อหาเป็นเชิงแนะนำในมุมมองของนักบัญชี ภาษี เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ

ที่เห็นผลกระทบของผู้ประกอบการหลายรายที่เกิดความผิดพลาด ในการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคล ทั้งรูปแบบห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด

สุดท้ายไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจดจัดตั้งจดยกเลิก

 

คอร์สนี้เป็นคอร์สแนะนำ จากประสบการณ์ตรง ไม่ได้มุ่งเน้นว่าธุรกิจใดเป็นหลัก แต่มีหลักเบื้องต้นให้ตัดสินใจว่า อันใหนควรทำในนามบุคคลธรรมดา อันใหนควรทำในนามนิติบุคคล

จะเกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อจะไม่ให้พลาดตั้งแต่เริ่มต้น การแก้ปัญหามักมีค่าใช้ใช้มากว่าเสมอ

และเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ สะดวก ปลอดภัย และเสียภาษีอย่างเป็นธรรม ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย

คอร์สนี้เหมาะกับใคร

  • ผู้ที่กำลังเริ่มทำธุรกิจ
  • คนที่ค้าขายอยู่แล้วแต่ยังไม่อยู่ในระบบ
  • นักบัญชีใหม่ ที่ศึกษาแนวทางการรับงานลูกค้า
  • ผู้ประกอบการ ที่กำลังรู้สึกกังวลว่า ที่ทำมาปลอดภัยหรือยัง
  • บุคคลทั่วไปที่สนใจด้านธุรกิจ หามุมมองของนักบัญชีภาษีแนะนำธุรกิจ

การตัดสินใจเป็นของท่าน เงินค่าปรับเป็นของ กรมสรรพากร

รูปแบบอนนไลน์

ค่าลงทะเบียนเรียน 7,900 บาท

Early Bird พิเศษเพียง 1,990 บาท ก่อนปรับราคา เริ่มเรียนปลายเดือนมิถุนายนนี้

มีห้องถามตอบ ให้คำแนะนำเบื้องต้น

สนใจทักทางไลน์ @rurobtax อย่าลืม @ นำหน้า

จุดเริ่มต้นการตัดสินใจของทุกธุรกิจ

 

 

บทเรียน :